กล่องข้อความ: 		7-50100-001-133  		  ชื่อพื้นเมือง	:  ปอกระสา , ปอฝ้าย  ชื่อวิทยาศาสตร์	:  Broussonetia papyrifera (L.) L'Herit.  ชื่อวงศ์	:  MORACEAE  ชื่อสามัญ	  ประโยชน์	:  เปลือกใช้ทำกระดาษสา

บริเวณที่พบ : บ้านพักครู
ลักษณะพิเศษของพืช : เปลือกใช้ทำกระดาษสา
ลักษณะทั่วไป
ต้น :
มีลักษณะกลมเปลือกลำต้นเรียบ สีน้ำตาลเข้ม หรือมีลายดำน้ำตาลดำแกมม่วงหรือสีอื่น ๆ แล้วแต่พันธุ์เมื่อตัดต้น
หรือกิ่งพบว่าระหว่างเปลือกกับแกนของลำต้น จะมีน้ำยางสีขาวข้นไหลออก
ใบ : มีขนอ่อนปกคลุมขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ปลายใบแหลม หลังใบมีสีเขียวแก่ ท้องใบสีเขียวอ่อนอมขาวสะท้อนแสง
ดอก : มี 2 ชนิด คือ ดอกตัวเมียและดอกตัวผู้อยู่แยกจากกันคนละต้น เป็นต้นตัวเมียและต้นตัวผู้ ประกอบด้วยกลุ่มดอกค่อนข้างแน่น
ดอกอ่อนมีสีเขียว ยอกเกสรตัวเมียมีลักษณะยาว 1-3 เซนติเมตร อยู่โดยรอบ เมื่อดอกแก่ได้รับการผสมแล้ว แต่ละดอกจะเจริญไปเป็นผล
มีลักษณะเป็นท่อเล็ก ๆ สีแดงอมส้ม อ่อนนุ่มภายในมีเมือกชื้น โดยมีส่วนของเมล็ดติดอยู่ด้านปลายผล ซึ่งนกและกระรอกชอบกินเป็นอาหาร
ประโยชน์ : เปลือกใช้ทำกระดาษสา


กลับหน้าหลัก
ลำต้น
ใบ
ใบ
ดอก

 

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้   ปอกระสา , ปอฝ้าย     รหัสพรรณไม้   7-50100-001-133